ที่ปรึกษาแก้ปัญหาทางธุรกิจ ฟรีแลนซ์ บริการประชาสัมพันธ์ ปรึกษาทำเลธุรกิจ บริการข้อมูลธุรกิจ ที่ปรึกษาการลงทุน ข้อมูล ข่าวสาร เศรษฐกิจ สังคม เทคโนโลยี เศรษฐศาสตร์ รัฐศาสตร์ การเมือง ยุทธศาสตร์ การบริหาร กลยุทธ์การจัดการ Freelance Business Advisory Services Public Relations. Consulting business locations Business Information Services Investment Advisor's economic, social, prizes, information technology, economics, political science, strategic management, Ad..
วันศุกร์ที่ 10 ตุลาคม พ.ศ. 2557
ปฏิวัติ 2557ช่วงเวลาเปลี่ยนผ่านที่สำคัญ ที่จำเป็นต้องคง กฎอัยการศึก ไว้
ปฏิวัติ 2557ช่วงเวลาเปลี่ยนผ่านที่สำคัญ ที่จำเป็นต้องคง กฎอัยการศึก ไว้ ดี ไหม
วันอังคารที่ 7 ตุลาคม พ.ศ. 2557
วิกฤติปี40
วิกฤติปี40 กว่า 20000 อาคาร ค่าเงินลดไประดับ 50 กว่าบาท แต่เจ้าหนี้เงินกู้ต่างประเทศส่วนใหญ่ ลดหนี้ให้ 20-60 % สำหรับอาคารที่หาทุนสร้างต่อได้ วงการอสังหาริมทรัพย์ที่กู้เงินจำนวนมหาศาลได้รับประโยชน์เต็มๆ ธนาคารแห่งประเทศไทยนำเงินทุนสำรองทางการถึง 24,000 ล้านดอลลาร์สหรัฐ หรือคิดเป็น 2 ใน 3 ของเงินสำรองทั้งหมด มาใช้เพื่อปกป้องค่าเงินบาท ธปท. ได้ใช้เงินไปไม่ต่ำกว่า 7-8 แสนล้านบาท โดยการออกพันธบัตร มาดูดซับเงินดอลลาร์เข้าไปสำรองไว้เป็นเงินทุนสำรองทางการระหว่างประเทศ ได้เพิ่มขึ้นสูงถึง 63,000 ล้านดอลลาร์สหรัฐ หรือ 2.1 ล้านๆบาท เพื่อดูแลค่าเงินบาทไม่ให้แข็งค่าจนส่งผลกระทบกับผู้ส่งออก ขณะที่ต้องแบกรับภาระอัตราดอกเบี้ยในอัตราสูงถึง 5%
เดือนมีนาคม 2540 รัฐบาลใช้กองทุนเพื่อการฟื้นฟูและพัฒนาสถาบันการเงินซึ่งเป็นหน่วยงานของธนาคารแห่งประเทศไทย เข้าสนับสนุนให้ความช่วยเหลือทางการเงินแก่ธนาคารพาณิชย์และบริษัทเงินทุน หลักทรัพย์ต่าง ๆ สิ้นเงินไปมากกว่า 6 แสนล้านบาท แต่สุดท้ายต้องสั่งปิด 16 บริษัทเงินทุนหลักทรัพย์ เมื่อวันที่ 27 มิถุนายน 2540 และปิดอีก 42 บริษัท เมื่อวันที่ 5 สิงหาคม 2540 รวมเป็น 58 สถาบันการเงิน
สาเหตุของวิกฤตปี 2540 https://th-th.facebook.com/notes/498519743516837/
1.การขาดดุลบัญชีเดินสะพัด
ในช่วงที่เศรษฐกิจของไทยเติบโตมาอย่างต่อเนื่อง ดุลบัญชีเดินสะพัดของไทยก็มีการขาด
ดุลตั้งแต่ปี 2530 และเพิ่มสูงขึ้นต่อเนื่อง จนกระทั่งในปี 2539 ประเทศไทยต้องประสบ
ปัญหาการขาดดุลบัญชีเดินสะพัดถึง 14,350 ล้านดอลลาร์สหรัฐ ซึ่งเป็นผลมาจากการส่ง
ออกที่หดตัวลง 1.9% จากที่เคยขยายตัวสูงในปีก่อนหน้าถึง 24.82% สะท้อนให้เห็นสถานะ
รายได้ของประเทศที่พึ่งพาการส่งออกในระดับสูงอันเป็นผลสืบเนื่องจากการพัฒนา
เศรษฐกิจที่เนินการผลิตเพื่อการส่งออกเป็นสำคัญ
2.ปัญหาหนี้ต่างประเทศ
การเปิดเสรีทางการเงินเมื่อปี 2532-37 ทำให้ประเทศไทยสามารถพึ่งพาเงินทุนจากต่าง
ประเทศได้สะดวก โดยไม่มีความเสี่ยงด้านอัตราแลกเปลี่ยน เนื่องจากค่าเงินที่กำหนดไว้ที่ 25
บาทต่อดอลลาร์สหรัฐ ทำให้ผู้กู้ยืมสามารถยืมเงินและคืนเงินกู้ในสกุลเงินตราต่างประเทศได้
ใน อัตราดังกล่าว ซึ่งเป็นผลจากการที่ไทยประกาศรับพันธะสัญญาข้อที่ 8 ของกองทุนการ
เงินระหว่างประเทศในปี พ.ศ. 2533 เพื่อเปิดระบบการเงินของไทยสู่สากล และในเดือน
เมษายน พ.ศ. 2534 ประกาศผ่อนคลายการปริวรรตเงินตราต่างประเทศ เดือนกันยายน
2535 รัฐบาลอนุมัติให้ธนาคารพาณิชย์สามารถจัดตั้งกิจการวิเทศธนกิจไทย(Bangkok
International Banking Facilities : BIBF) มีธนาคารพาณิชย์ 46 แห่งได้รับมอบใบ
อนุญาตให้ดำเนินการได้เมื่อเดือนมีนาคม 2536 ทำให้เกิดการขายตัวของระบบการเงิน
ของประเทศที่ส่งผลต่อการเกิดหนี้ด้อยสภาพขึ้นมากในสถาบันการเงินและการกู้เงินจาก
สถาบันการเงินต่างประเทศเพื่อปล่อยกู้ให้กับธุรกิจในเมืองไทย ณ ปลายปี 2540 หนี้ต่าง
ประเทศของไทยเพิ่มขึ้นในระดับสูงถึง 109,276 ล้านดอลลาร์สหรัฐ โดยเฉพาะหนี้ต่าง
ประเทศระยะสั้นที่มีสัดส่วนถึง 65% ของหนี้ต่างประเทศรวม และสัดส่วนเงินสำรองต่อหนี้
ระยะสั้นอยู่ในระดับต่ำเพียง 70.40%
การเปิด BIBF และการลดภาษีมูลค่าเพิ่มเหลือ 7 % เพื่อต่อรองหนี้เงินกู้ ผลงานของ ไทย เดโมแครต
เดือนมีนาคม 2540 รัฐบาลใช้กองทุนเพื่อการฟื้นฟูและพัฒนาสถาบันการเงินซึ่งเป็นหน่วยงานของธนาคารแห่งประเทศไทย เข้าสนับสนุนให้ความช่วยเหลือทางการเงินแก่ธนาคารพาณิชย์และบริษัทเงินทุน หลักทรัพย์ต่าง ๆ สิ้นเงินไปมากกว่า 6 แสนล้านบาท แต่สุดท้ายต้องสั่งปิด 16 บริษัทเงินทุนหลักทรัพย์ เมื่อวันที่ 27 มิถุนายน 2540 และปิดอีก 42 บริษัท เมื่อวันที่ 5 สิงหาคม 2540 รวมเป็น 58 สถาบันการเงิน
สาเหตุของวิกฤตปี 2540 https://th-th.facebook.com/notes/498519743516837/
1.การขาดดุลบัญชีเดินสะพัด
ในช่วงที่เศรษฐกิจของไทยเติบโตมาอย่างต่อเนื่อง ดุลบัญชีเดินสะพัดของไทยก็มีการขาด
ดุลตั้งแต่ปี 2530 และเพิ่มสูงขึ้นต่อเนื่อง จนกระทั่งในปี 2539 ประเทศไทยต้องประสบ
ปัญหาการขาดดุลบัญชีเดินสะพัดถึง 14,350 ล้านดอลลาร์สหรัฐ ซึ่งเป็นผลมาจากการส่ง
ออกที่หดตัวลง 1.9% จากที่เคยขยายตัวสูงในปีก่อนหน้าถึง 24.82% สะท้อนให้เห็นสถานะ
รายได้ของประเทศที่พึ่งพาการส่งออกในระดับสูงอันเป็นผลสืบเนื่องจากการพัฒนา
เศรษฐกิจที่เนินการผลิตเพื่อการส่งออกเป็นสำคัญ
2.ปัญหาหนี้ต่างประเทศ
การเปิดเสรีทางการเงินเมื่อปี 2532-37 ทำให้ประเทศไทยสามารถพึ่งพาเงินทุนจากต่าง
ประเทศได้สะดวก โดยไม่มีความเสี่ยงด้านอัตราแลกเปลี่ยน เนื่องจากค่าเงินที่กำหนดไว้ที่ 25
บาทต่อดอลลาร์สหรัฐ ทำให้ผู้กู้ยืมสามารถยืมเงินและคืนเงินกู้ในสกุลเงินตราต่างประเทศได้
ใน อัตราดังกล่าว ซึ่งเป็นผลจากการที่ไทยประกาศรับพันธะสัญญาข้อที่ 8 ของกองทุนการ
เงินระหว่างประเทศในปี พ.ศ. 2533 เพื่อเปิดระบบการเงินของไทยสู่สากล และในเดือน
เมษายน พ.ศ. 2534 ประกาศผ่อนคลายการปริวรรตเงินตราต่างประเทศ เดือนกันยายน
2535 รัฐบาลอนุมัติให้ธนาคารพาณิชย์สามารถจัดตั้งกิจการวิเทศธนกิจไทย(Bangkok
International Banking Facilities : BIBF) มีธนาคารพาณิชย์ 46 แห่งได้รับมอบใบ
อนุญาตให้ดำเนินการได้เมื่อเดือนมีนาคม 2536 ทำให้เกิดการขายตัวของระบบการเงิน
ของประเทศที่ส่งผลต่อการเกิดหนี้ด้อยสภาพขึ้นมากในสถาบันการเงินและการกู้เงินจาก
สถาบันการเงินต่างประเทศเพื่อปล่อยกู้ให้กับธุรกิจในเมืองไทย ณ ปลายปี 2540 หนี้ต่าง
ประเทศของไทยเพิ่มขึ้นในระดับสูงถึง 109,276 ล้านดอลลาร์สหรัฐ โดยเฉพาะหนี้ต่าง
ประเทศระยะสั้นที่มีสัดส่วนถึง 65% ของหนี้ต่างประเทศรวม และสัดส่วนเงินสำรองต่อหนี้
ระยะสั้นอยู่ในระดับต่ำเพียง 70.40%
การเปิด BIBF และการลดภาษีมูลค่าเพิ่มเหลือ 7 % เพื่อต่อรองหนี้เงินกู้ ผลงานของ ไทย เดโมแครต
สมัครสมาชิก:
บทความ (Atom)